+atom.xml?redirect=false รู้อะไร@iTUKnowledge Blog keyword

หน้าเว็บ

Saturday, September 26, 2009

การเลือกตั้ง ความรู้ในระบอบประชาธิปไตย


ความรู้การเลือกตั้งในระบอบประชาธิปไตยโดยประชาธิปไตยเป็นพลานุภาพของประชาชนเป็นความรู้ในการสร้างพลานุภาพทางการเมืองของประชาชน ซุนวูกล่าวว่า สงวนจุดต่างสร้างจุดแข็งการพิจารณาในประเด็น“โวตโนกับไม่โวตโน”ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏรระบอบประชาธิปไตย ประชาชนต่างมีความเห็นหลากหลาย แล้วมวลชนจะทำอยางไร เพื่อเป็นความรู้ได้เปรียบในการต่อสู้ทางการเมืองระบอบประชาธิปไตย

การใชัความรู้วิเคราะห์แบบวิภาษวิธี กระบวนการวิภาษวิธี (dialectic process) ตามทฤษฎีความรู้ของเฮเกลโมเดล สรุปตัวอย่างแนวทางวิเคราะห์ในภาพรวม ง่ายต่อการประยุกต์ใช้ ดังต่อไปนี้
1. ประเด็น “โวต โน” คือ ประเด็นแนวคิด (thesis)
2. ประเด็น “ไม่ โวต โน” คือ แนวคิดต่าง (antithesis)
3. สรุปประเด็น “สามัคคีประชาธิปไตย” คือสังเคราะห์แนวคิด (synthesis)

การสรุปเป็นความรู้ในการปฏิบัติ  การเมืองการเลือกตั้งคือการปฏิติตามกฏเกณฑ์เสียงข้างมากในระบอบประะชาธิปไตยมีชนะกับแพ้ไม่มีเสมออย่างใด ในการปฏิบัติใดถ้ามีทฤษฎีหรือหลักการใด ควรพิจารณาสรุปเป็นแนวทางปฏิบัติให้ดำเนินไปในแนวทางเดียวกัน ไม่ก่อให้เกิิความสับสนให้กับมวลชนและประชาชน แล้วมีแนวคิดทางการเมืองใดเพิ่มเติมที่เป็นประโยชน์ ได้แก่ ความรู้หลักกฏหมายเลือกตั้ง ความรู้ยุทธศาสตร์เลือกตั้ง การบริหารค่าใช้จ่ายต่างๆ การตลาดการเมือง กลโกงการเลือกตั้ง เป็นต้น จะบังเกิดเป็นพลานุภาพของประชาชนในทางการเมืองระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย

คนเข้ม องค์กรแข็ง มวลมหาชนเกื้อหนุน เคลื่อนไหวอย่างเป็นผ่ายกระทำอย่างต่อเนื่อง ชัยชนะในทางการเมืองไม่ไปไหน ก้าวเดินไปตาม ยุทธศาสตร์ประชาธิปไตย เป็นความรู้ เป็นพลานุภาพของประชาชน

No comments:

Post a Comment